trinity-abstract.com

trinity-abstract.com

Hypoglycemia Newborn คือ

Thu, 11 Aug 2022 20:22:26 +0000
บาน-กลางเมอง-s-sense-พระราม-9-ลาดพราว

Calcium gluconate - การให้ Calcium IV ควรพิจารณาให้ในทารกต่ำกว่า 1500 กรัม, asphyxia, RD, sepsis, diarrhea, hypoglycemia ซึ่งรับ oral feeding ยังไม่เต็มที่และยังจำเป็นต้องให้ IV fluid อยู่ - วิธีการให้: สำหรับ maintenance ให้ 10% calcium gluconate 200 mg/kg/day ผสมใน fluid ที่ไม่มี NaHCO3 หรือแบ่งให้ 4 ครั้งต่อวัน เจือจางเท่าตัว เข้าเส้นช้า ๆ (10% calcium gluconate 1 cc = 0. 5 mmol = 100 mg) VII. การดูแลอื่น ๆ 1. ทารกที่อยู่ในโรงพยาบาล ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงทางอาการ การวินิจฉัยและการรักษาควรบันทึกลงใน chart นั้น 2. ทารกที่น้ำหนักตัวน้อยกว่า 2000 กรัม ควรให้ MTV drop 0. 3 cc /day ภายในอายุ 3-5 วัน ถ้าไม่มีปัญหา (กรณีที่ได้ TPN ซึ่งมี vitamin แล้วก็ยังไม่ต้องให้) 3. consult จักษุแพทย์ เพื่อตรวจ fundi ในทารกน้ำหนักตัวน้อยทุกราย ที่เคยได้ O2 หรือ ทำ exchange transfusion เมื่อ condition ดีโดยเร็วที่สุด เมื่ออายุครรภ์ครบ 34 สัปดาห์ หรือ4-6 สัปดาห์หลังเกิด 4. Consult ENT เพื่อตรวจ screening hearing test ก่อนกลับบ้านทุกราย 5. Discharge เมื่อทารกน้ำหนักเกิน 1800 กรัมและกินดี, ไม่ต้องการ incubator เพื่อ maintain temperature และเมื่อปัญหาต่างๆไม่มีแล้ว ก่อนกลับควรเช็ค CBC/Hct เพื่อดูภาวะ anemia ในทารกน้ำหนักตัวน้อยทุกราย พร้อมทั้งให้ตรวจร่างกายละเอียด วัด BW, HC, CC, L และบันทึกลงในรายงาน 6.

Chart

ทารกที่แม่ทิ้งอยู่โรงพยาบาลนาน พิจารณาให้ immunization ตามเกณฑ์อายุ ยกเว้นใน ward premature Thermoregulation เป็นสิ่งสำคัญอันดับแรกสำหรับทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย และทารกที่มีปัญหา Thermoneutral environment จะทำให้ทารกใช้พลังงานและ oxygen ได้อย่างประหยัดที่สุด อันเป็นผลให้ปัญหาต่าง ๆ เช่น respiratory distress และโรคแทรกซ้อนในภายหลังลดน้อยลง ข้อควรปฏิบัติมีดังต่อไปนี้ - เช็ดตัวทารกให้แห้ง ทันทีภายหลังคลอด (ยกเว้นทารกที่มี meconium stained ที่ไม่ค่อยหายใจ) - วางเด็กใต้ Radiant warmer หรือ Incubator ที่เปิดเครื่องเตรียมไว้แล้ว - ไม่อาบน้ำจนกว่าจะผ่านพ้น transitional period ไป - ในระยะ 1-2 ชม. หลังคลอดนี้ การสังเกตอาการต่าง ๆ ของทารกจะช่วยทำให้สามารถวินิจฉัยอาการผิดปกติที่เพิ่งเริ่มเป็น หรือเป็นแต่น้อยได้ เช่น mild respiratory distress ทำให้เริ่มการรักษาได้เร็วขึ้น - ในกรณีทารกน้ำหนักน้อยกว่า 1500-1800 กรัม หรือทารกที่มีปัญหา hypothermia ให้ใส่ incubator ไว้ Thermoneutral range Environmental temperature Birth weight (Kg) 35c 93. 3f 34c 90. 6f 33c 87. 9f 32c 85. 3f >2. 5 - - For 2 days > 2days 2.

  1. สาย 3.5 to 3.5 munkong oil
  2. เคล็ดลับซักผ้าขาวไม่ให้หมองให้ขาวใสเหมือนใหม่อยู่ตลอดเวลา | สรุปข้อมูลที่ปรับปรุงใหม่ที่เกี่ยวข้องกับเบ ก กิ้ ง โซดา ซัก ผ้า ขาว
  3. Hypoglycemia newborn คือ
  4. Agc automotive เงินเดือน
  5. รถ suv 2016 reviews
  6. Hypoglycemia newborn คือ vs

5 mEq/kg/h ในรายที่ blood pH < 7. 0; NPO ( เพื่อไม่ให้มี metabolic substrate เพิ่ม) ช่วง metabolic crisis มีการสะสมของ organic acids จะไปกด granulopoietic stem cell ทำให้เสี่ยงต่อ sepsis ให้ empiric IV ATB (ceftazidime 50 mg/kg IV); ภาวะ hyperammonemia จะเสี่ยงต่อ cerebral edema โดยเฉพาะเมื่อได้ hypotonic solutions สงสัยในรายที่ lab parameter ดีขึ้นแล้วแต่ยังมี altered mental status รักษาโดยการให้ mannitol (0.

Newborn care I. Routine care 1. Eye prophylaxis ด้วย AgNO3 2. Konakion (vitamin K1) 1 mg IM 3. maintain thermoneutral environment 4. ดูด gastric content ออกให้หมด และบันทึกจำนวนที่ได้ หากมากกว่า 20 cc. พึงระวังว่าอาจมี gut obstruction ได้ 5. BCG และ Hepatitis ccine เข็มที่ 1 II. Physical examination 1. vital signs: PR, RR, Temp และ BP 2. measurement: HC, CC, L, BW และวัด HC, CC, L สัปดาห์ละ 1 ครั้ง 3. gestational age assessment: Ballard's หรือ Dubowitz's method 4. ตรวจร่างกายทุกระบบอย่างละเอียด เมื่อแรกรับ และทุกวันอย่างน้อยวันละครั้ง 5. บันทึก congenital malformation ที่พบทุกอย่าง 6. การตรวจทั้งหมด ควรจะบันทึกลงใน chart ทุกครั้ง III. Laboratory test - routine lab ทำ Hematocrit, Dextrostix หรือ Reflolux, เจาะเลือดส่งทำ neonatal screening test (TSH, PKU, G6PD ฯลฯ) IV. Feeding 1. NPO ระหว่าง observe อาการทารกประมาณ 4-5 ชั่วโมง ในทารกครบกำหนดแต่ถ้าทารกตัวใหญ่อาจให้นมเร็วขึ้น 2. Test feeding ด้วย sterile water 1-2 มื้อ ทุก 3-4 ชั่วโมง น้ำหนักทารก ปริมาณ/มื้อ 1000-1500gm 1500-2000gm > 2000 gm 3-8 cc 8-15 cc 15-20 cc - แล้วให้เริ่มนม เท่ากับปริมาณน้ำมื้อแรก - วันต่อไป เพิ่มจำนวน 2 - 5 มล.

ยา 2022 วิดีโอ: ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำในทารกแรกเกิดคืออะไรและมีผลต่อทารกแรกเกิดอย่างไร?

ต่อมื้อ ในเด็กต่ำกว่า 1000 กรัม 5 - 10 มล. ต่อมื้อ ในเด็กต่ำกว่า 2000 กรัม - จนได้พลังงาน 110-120 kcal/kg/day แต่ให้เพิ่มไม่เกิน 20-24 มล. /กก. /วัน - อย่างไรก็ตามถ้าทารกอยู่ในตึกสูติกรรมควรแนะนำการให้กินนมแม่ ทารกที่ย้ายมา รพ. เด็ก ถ้ามารดามีน้ำนมให้นำมาให้ทารกได้ - ในทารกต่ำว่า 34 wk GA หรือน้ำหนักต่ำกว่า 1500 กรัม ให้พิจารณา gastric tube feeding - ทารกน้ำหนักน้อยกว่า 1800 กรัม แนะนำให้ใช้นมสำหรับทารกคลอดก่อนกำหนด (1 OZ = 24 แคลอรี่) - ควรพิจารณาให้ IV fluid ในกรณีดังต่อไปนี้ 1. ทารกน้ำหนักน้อยกว่า 1500 กรัม อายุวันแรก ๆ 2. Infant of diabetic mother 3. ทารกที่มีการเจ็บป่วย เช่น severe birth asphyxia, respiratory distress, ช็อก, apnea เป็นต้น ในกรณีเหล่านี้ควร NPO และให้ IV fluid ตามน้ำหนักตัวและ Gestational age - off IV fluid เมื่อให้ oral feeding ได้ถึง 80 kcal/kg/day - ใน high risk infant ที่อาจเกิดภาวะ hypoglycemia เช่น IDM, LGA น. น. > 4000 กรัม, SGA, preterm เป็นต้น ให้ทำ Hct และ dextrostix ในระยะ 2 - 4 ชม. หลังคลอดและติด ตามทำเป็น ระยะ ๆ และให้เริ่มนมเร็วได้เลย การให้ PN (Parenteral nutrition) ให้พิจารณา ให้ protein ในวันที่ 2-3 และเพิ่มเรื่อย ๆ จนถึงปริมาณที่ควรได้รับ และให้ feed ในวันที่ 3 ถ้า bowel sound ได้ยิน VI.

hypoglycemia newborn คือ blood test
  1. เพลง สากล กวน ๆ คือ
  2. Boyy slash bag ราคา videos
  3. การ ใช้ ภาษา โน้มน้าว ใจ ตอนที่
  4. The glass house pattaya menu price
  5. Blue curacao ราคา tree
  6. สมัคร genting club
  7. โคม ไฟ ขวด น้ํา
  8. อะตอม mic idol
  9. ถัง ฟ้า 200 ลิตร
  10. โรงเรียน ซ่ ง แย้ ทิพ ยา
  11. เกม popcat ไทย อังกฤษ
  12. รองเท้า barefoot เชียงใหม่ 2021
  13. ห้อง เช่า เทพารักษ์ หนามแดง
  14. แต่ง นิ ส สัน อั ล เม ร่า ฟรี ทุน